Briefing: Seafood Working Group (SWG) Findings on Taiwan and Thailand for the 2022 TIP Report

Fishing workers, Thailand

Date: 

Thursday, April 7, 2022 - 8:00am

Location: 

ONLINE

(Information in Thai and 中文 Chinese below)

Time: 8:00-9:30 US EST / 19:00-20:30 Thailand / 20:00-21:30 Taiwan 

Human trafficking and forced labor remain widespread throughout the Thailand and Taiwan seafood industries, which supply consumers and brands across the globe. This is in large part due to discriminatory legal and policy frameworks, as well as government failures to promote and protect labor rights for vulnerable categories of workers. Labor rights, particularly freedom of association and collective bargaining, are critical to forced labor prevention, yet these rights are often denied or severely restricted for migrant workers.

Join this Seafood Working Group (SWG) briefing to learn about the current context for human trafficking, forced labor and labor rights in Thailand and Taiwan. Speakers include survivors, workers, unions and civil society organizations supporting migrant workers in the fishing sector and other industries. 

This briefing will highlight findings and recommendations based on the formal comments submitted by the SWG to the U.S. Department of State’s 2022 Trafficking in Persons (TIP) Report. The annual TIP Report has been the U.S. government’s principal diplomatic tool for engaging foreign governments on these issues for decades and has remained a critical driver of reforms in many countries. In 2021, Thailand was appropriately downgraded to ‘Tier 2 Watch List’ in recognition of ongoing forced labor of migrant workers throughout the Thai economy. Meanwhile, Taiwan has stayed at ‘Tier 1’ for twelve consecutive years despite well documented forced labor in its fishing sector. 

Thailand and Taiwan play pivotal roles in the international seafood trade, meaning that U.S. consumer markets remain inextricably tied to abusive practices. Despite constant pressure from civil society, media, and processes such as the TIP mechanism, abuses continue, and many of the underlying causes are yet to be addressed. Join this briefing to find out more and become part of the movement for change.

 

MODERATOR

  • Kimberly Rogovin, Senior Seafood Campaign Coordinator, GLJ-ILRF 

OPENING REMARKS

  • Jennifer (JJ) Rosenbaum, Executive Director, GLJ-ILRF 

TAIWAN BRIEFING 

  • Video: Survivor from Da Wang vessel
  • Yuton Lee, Campaigner, Greenpeace East Asia 
  • Allison Lee, Secretary General, Yilan Migrant Fishers Union (YMFU) 
  • Lennon Ying-Dah Wong, Director of Policies on Migrant Workers, Serve the People Association (SPA), Taoyuan

THAILAND BRIEFING 

  • Video: Migrant fisherman, ITF-Fishers’ Rights Network
  • Roisai Wongsuban, Senior Program Officer, Freedom Fund 
  • Adisorn Kerdmongkol, Coordinator, Migrant Working Group (MWG)
  • Suthasinee Kaewleklai, Migrant Workers Rights Network (MWRN)

REFLECTIONS 

  • Phil Robertson, Deputy Director for Asia, Human Rights Watch 

Advance registration required:

https://us06web.zoom.us/webinar/register/WN_nS-pUycySgaNQKFWr_wPfA 

 

การประชุมสรุป: ข้อค้นพบของคณะทำงานด้านอาหารทะเล (SWG) เกี่ยวกับสถานการณ์การค้ามนุษย์ในประเทศไต้หวันและไทยสำหรับรายงาน TIP Report 2022

จากการใช้แรงงานบังคับสู่เสรีภาพในการสมาคม: สิทธิแรงงานมีความจำเป็นต่อการขจัดการใช้แรงงานบังคับในห่วงโซ่อุปทานโลก

วันที่ 7 เมษายน 2565

เวลา 8:00-9:30 เวลาสหรัฐอเมริกา EST / 19:00-20:30 เวลาประเทศไทย / 20:00-21:30 เวลาไต้หวัน

การค้ามนุษย์และการใช้แรงงานบังคับยังเป็นปรากฏการณ์ที่แพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารทะเลทั้งในประเทศไทยและไต้หวัน ซึ่งเป็นผู้ส่งออกอาหารทะเลแก่ผู้บริโภคและแบรนด์ทั่วโลก กรณีเหล่านี้ส่วนใหญ่มาจากกรอบกฎหมายและนโยบายที่เลือกปฏิบัติ รวมถึงความล้มเหลวของรัฐบาลในการส่งเสริมและปกป้องสิทธิด้านแรงงานของกลุ่มแรงงานที่เปราะบาง สิทธิแรงงานโดยเฉพาะเสรีภาพในการสมาคมและการเจรจาต่อรองร่วมเป็นสิ่งจำเป็นต่อการป้องกันการใช้แรงงานบังคับ แต่แรงงานข้ามชาติมักถูกปฏิเสธหรือจำกัดสิทธิเหล่านี้อยู่บ่อยครั้ง

ขอเชิญทุกท่านเข้าร่วมการประชุมสรุปที่จัดโดย SWG เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับบริบทการค้ามนุษย์ การใช้แรงงานบังคับ และสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยและไต้หวันในปัจจุบัน วิทยากรรับเชิญ ได้แก่ ผู้รอดชีวิต แรงงาน สหภาพแรงงาน และองค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานสนับสนุนแรงงานข้ามชาติในภาคประมงและอื่น ๆ

การประชุมสรุปนี้เป็นการนำเสนอข้อค้นพบและข้อเสนอแนะที่นำมาจากข้อคิดเห็นอย่างเป็นทางการต่อรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ หรือ Trafficking in Persons (TIP) Report ปี 2565 ที่ SWG ยื่นต่อกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา รายงาน TIP Report ที่จัดทำทุกปีเป็นเครื่องมือทางการทูตที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาใช้ทำงานกับรัฐบาลต่างประเทศในประเด็นดังกล่าวเป็นระยะเวลาหลายทศวรรษ ซึ่งยังเป็นตัวผลักดันการปฏิรูปที่สำคัญในหลายประเทศ ในปี 2564 ประเทศไทยถูกลดอันดับเป็น Tier 2 Watchlist อย่างเหมาะสม เนื่องมาจากสถานการณ์การใช้แรงงานบังคับในหมู่แรงงานข้ามชาติในระบบเศรษฐกิจของประเทศอย่างต่อเนื่อง ส่วนประเทศไต้หวันสามารถรักษาอันดับ Tier 1 มาเป็นเวลา 12 ปีติดต่อกัน แม้จะพบหลักฐานเกี่ยวกับการใช้แรงงานบังคับในภาคประมงก็ตาม

ประเทศไทยและไต้หวันมีบทบาทที่สำคัญในการค้าอาหารทะเลระหว่างประเทศ ซึ่งหมายความว่า ตลาดผู้บริโภคในสหรัฐอเมริกามีความสัมพันธ์กับแนวปฏิบัติที่ละเมิดสิทธิอย่างแยกกันไม่ได้ การละเมิดสิทธิยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะมีแรงกดดันจากภาคประชาสังคม สื่อ และมาตรการต่าง ๆ เช่น กลไก TIP Report สาเหตุแท้จริงหลายประการยังไม่ได้รับการแก้ไข ขอเชิญชวนทุกคนเข้าร่วมการประชุมสรุปนี้เพื่อเรียนรู้ข้อมูลเพิ่มเติมและเป็นส่วนหนึ่งของความเคลื่อนไหวในการสร้างความเปลี่ยนแปลง

กรุณาลงทะเบียนล่วงหน้า:

https://us06web.zoom.us/webinar/register/WN_nS-pUycySgaNQKFWr_wPfA 

 

ผู้ดำเนินรายการ

  • Kimberly Rogovin ผู้ประสานงานโครงการด้านอาหารทะเลอาวุโส GLJ-ILRF 

กล่าวเปิดงาน

  • Jennifer Rosenbaum (JJ) ผู้อำนวยการบริหาร GLJ-ILRF 

การประชุมสรุปของประเทศไต้หวัน

  • คลิปวิดีโอ: ผู้รอดชีวิตจากเรือ Da Wang
  • Yuton Lee เจ้าหน้าที่รณรงค์ Greenpeace East Asia 
  • Allison Lee เลขาธิการ Yilan Migrant Fishers Union (YMFU) 
  • Lennon Ying-Dah Wong ผู้อำนวยการด้านนโยบายแรงงานข้ามชาติ Serve the People Association (SPA) เมืองเถาหยวน

 

การประชุมสรุปของประเทศไทย

  • คลิปวิดีโอ: แรงงานประมงข้ามชาติ ITF-Fishers Rights Network
  • โรยทราย วงศ์สุบรรณ เจ้าหน้าที่โครงการอาวุโส Freedom Fund 
  • อดิศร เกิดมงคล ผู้ประสานงาน เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (MWG)
  • สุธาสินี แก้วเหล็กไหล เครือข่ายสิทธิแรงงานข้ามชาติ (MWRN)

ความคิดเห็น 

  • Phil Robertson รองผู้อำนวยการสำหรับทวีปเอเชีย Human Rights Watch

 

 

簡報:海鮮倡議工作小組 (SWG) 2022 年人口販運問題報告 (TIP Report) 台灣與泰國調查結果

從強迫勞動到結社自由:勞工權利在終止全球供應鏈侵害上扮演關鍵角色

日期:202247

時間:8:00-9:30美東 / 19:00-20:30 泰國 / 20:00-21:30 台灣

人口販運和強迫勞動在泰國和台灣海鮮產業仍十分普遍,兩國海鮮產業供應全球消費者和品牌。如此情況很大原因是因為歧視性法律和政策框架,以及政府未能促進及保護弱勢工人的勞工權利。勞工權利,特別是結社自由和集體談判,對於防制強迫勞動至關重要,但移工的這些權利往往遭剝奪或嚴重限制。

參加這場海鮮倡議工作小組 (SWG) 簡報會,了解泰國和台灣人口販運、強迫勞動和勞工權利現況。講者包括倖存者、工人、工會和支持外籍漁工和其他產業移工的公民社會組織代表。

這場簡報會將重點分享 SWG 提交美國國務院 2022 年人口販運 (TIP) 報告的正式評論調查結果和建議。幾十年來,每年的 TIP 報告一直是美國政府在這些議題上與外國政府互動的主要外交工具,也一直是許多國家改革一大關鍵驅動力。2021年,泰國妥適降級至「第二級觀察名單」,反映整個泰國經濟中持續存在的移工強迫勞動問題。與此同時,儘管有充分證據顯示其漁業有強迫勞動情事,台灣已連續十二年保持「第一級」評級。

泰國和台灣在國際海鮮貿易中扮演舉足輕重的角色,這也代表美國消費者市場仍與侵害作法緊密相連。雖有民間社會、媒體,以及 TIP 機制等流程持續施壓,但侵害行為持續存在,許多根本原因尚未解決。參加這場簡報會,了解更多資訊並成為變革運動的一員。

 

需事先報名:

https://us06web.zoom.us/webinar/register/WN_nS-pUycySgaNQKFWr_wPfA  

主持人

  • GLJ-ILRF資深海鮮倡議協調專員Kimberly Rogovin

開場

  • GLJ-ILRF執行長Jennifer (JJ) Rosenbaum

台灣簡報 

  • 影片:大旺號倖存者
  • 綠色和平東亞辦公室倡議專員李于彤
  • 宜蘭縣漁工職業工會秘書長李麗華
  • 桃園市群眾服務協會移工政策處主任汪英達

泰國簡報

  • 影片:國際運輸工人聯盟漁工權利網絡 (ITF-Fishers’ Rights Network) 外籍漁工
  • Freedom Fund資深計畫專員Roisai Wongsuban
  • 移民工作小組 (Migrant Working Group) 協調專員Adisorn Kermongkol
  • 移工權利網絡 (Migrant Worker Rights Network) Suthasinee Kaewleklai

反思

  • 人權觀察亞洲副主任Phil Robertson